วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559

พระพุทธศาสนาฝึกคนไม่ให้ประมาท

        พระพุทธศาสนาฝึกคนไม่ให้ประมาท   พระพุทธเจ้าหลังจากที่ได้ตรัสแล้ว ก็ทรงนำสิ่งที่ตรัสรู้ก็คือหลักธรรม ซึ่งมีอยู่จำนวนมาก แต่หลักธรรมที่พระองค์ทรงเน้นอยู่เสมอ ตลอดระยะเวลา 45 ปี ที่ทรงสั่งสอนชาวโลกคือ ความไม่ประมาท แม้ในคืนสุดท้ายก่อนที่พระองค์เสด็จดับขันธปรินิพพาน ได้ตรัสเรียกพระภิกษุสาวกทั้งหลายให้มาประชุมพร้อมกัน แล้วได้ประทานโอวาทเรื่ออ่านเพิ่มเติม

พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา

พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา  
1.1 ความหมายของการศึกษาในทัศนะของพระพุทธศาสนา
การศึกษาตรงกับคำศัพท์ภาษาลีว่า สิกขาแปลว่า การฝึกอบรมตนให้งอกงามหรือการพัฒนาตนให้งอกงาม ตามหลักพระพุทธศาสนาแบ่งการพัฒนาตนให้งอกงามออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้อ่านเพิ่มเติม

            1)

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตนเอง การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ

   การฝึกอบรมตน หมายถึง การฝึกตนเองให้กระทำความดีทั้งทางกาย วาจา และใจ ซึ่งถือว่าเป็นผู้พัฒนาตนเอง ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อตนเอง ครอบครัว และสังคมโดยรวม โดยอาศัยหลักของไตรสิกขาดังนี้   1. ศีล เป็นการฝึกการควบคุมพฤติกรรมทางกาย และวาจา เครื่องมือที่ใช้ฝึกศีลคือ วินัย เพราะวินัยเป็นตัวการจัดเตรียมชีวิตให้อยู่ในสภาพที่เอื้อต่อการพัฒนาอ่านเพิ่มเติม

การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์

   การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์ นั้นมีความสอดคล้องกันเป็นอันมากจนมีบางคนกล่าวว่า พระพุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์ทางจิตใจ (Spiritual / Mental Science) และโดยเหตุที่พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นในโลกมนุษย์ก่อนวิทยาศาสตร์กว่า 2 พันปี จึงน่าจะกล่าวได้ว่าหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง ไปสอดคล้องกับหลักการและวิธีการของพระพุทธศาสนามากกว่า ทั้งพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์มีจุดเน้นเหมือนกัน คือ สอนมิให้คนงมงาย ควรนำสิ่งต่าง ๆ มาพิจารณาด้วยเหตุผล มีการทดสอ่านเพิ่มเติม

หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์

   หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์  หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์มีทั้งส่วนสอดคล้องกันและส่วนที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้
 1.      ความสอดคล้องกัน

1.1  ในด้านความเชื่อ วิทยาศาสตร์ถือหลักว่าก่อนจะเชื่ออะไรนั้นจะต้องมีการพิสูจน์ให้เห็นจริงได้เสียก่อน วิทยาศาสตร์เชื่อในเหตุผล ไม่เชื่ออะไรลอยอ่านเพิ่มเติม

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา


   ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา  ประธานาธิบดีอับราฮัม สินคอล์น แห่งสหรัฐอเมริกา ได้แสดงวาทะเกี่ยวกับคำว่า ประชาธิปไตยไว้ว่า เป็นการปกครองชองประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชนจากวาทะดังกล่าว เราอาจสรุปความหมายของประชาธิปไตยได้อย่างกว้าง ๆ ว่า เป็นการปกครองที่ถือว่าบุคคลทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกฐานะและทุกอาชีพ มีเสรีภาพ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบต่อสังคมและบ้านเมืองเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการปกครองแอ่านเพิ่มเติม

พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัธาและปัญญาที่ถูกต้อง

  พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
        หลักคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลักความจริงที่พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบโดยมิได้ทรงสร้างสรรค์ขึ้นเอง และมิได้ทรงรับคำสั่งสอนมาจากเทพเจ้าหรือพระเจ้าองค์ใดทั้งสิ้นดังที่กล่าวแล้วนั้นพระพุทธศาสนาจึงนับว่าเป็นศาสนาที่ต่างไปจากศาสนาอื่นๆอยู่มากอ่านเพิ่มเติม

พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง

  พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง มัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ทางสายกลาง, ข้อปฏิบัติเป็นกลาง ๆ
ไม่หย่อนจนเกินไปและไม่ตึงจนเกินไป นั่นคือการรู้จักปฏิบัติตนให้พอดี ให้รู้จักประมาณ ซึ่งเรียกว่า มรรคมีองค์ 8 ประกอบด้วย
1. สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ
2. สัมมาสังกัปปะ คือ ดำริชอ่านเพิ่มเติม


วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559

พระพุทธศาสนามีทฤษฎีที่เป็นสากล


พระพุทธศาสนาในด้านทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล  สัจธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วนำมาเผยแผ่เพื่อสั่งสอนแก่ประชาชนนั้น ถือว่าเป็นหลักความจริงที่แน่นอน เป็นสากลและเป็นหลักปฏิบัติที่เป็นสายกลาง ซึ่งลักษณะสำคัญของคำสอนก็จะมีหลักความจริงที่เปรียบได้กับภาคทฤษฎี อันเป็นหลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมที่ชาติหรือเรียกว่า มัชเฌนธรรม และภาคปฏิบัติ ที่เป็นหลักปฏิบัติตามทางสายกลางตามสภาพชีวิตของแต่ละบุคคลหรือที่เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทาอ่านเพิ่มเติม

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

  ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา  พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดถือทางสายกลางตามหลักพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล พระพุทธศาสนามีหลักการและทฤษฎีที่เป็นสากล คือ หลักอริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐของชีวิตมี 4 ประการคืออ่านเพิ่มเติม